ตัวอย่างงานวิจัยที่ดี
กัญญา โพธิวัฒน์. 2548 . ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียนประถมศึกษา
ะ การศึกษา เพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. [ISBN974 -284-754-1] อาจารย์ที่,ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ะ รศ.ดร.วิโรจน์ สารรัตนะ, ผศ.ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย,
ศ.ดร.ฟอร์เรสท์ ดับณิ้ลยู พาร์เคย์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ
การศึกษาเพื่อทำความเข้าใจถึงลักษณะ เงื่อนไขและ กระบวนการเกิดขึ้นการดำรงอยู่และผลที,ติดตามมาจากปรากฏการณ์ของทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียนประถมศึกษา
เป็นการศึกษาเพื่อหาข้อสรุปเชิงทฤษฎี ที,จะนำไปสู่การ
สร้างทฤษฎีจากฐานราก ซึ่งเป็นวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผูวจัยเลือกพื้นที,ที,ศึกษาโดยวิธีการเลือก
เชิงทฤษฎี
เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลางแห่งหนึ่งซึ่งมีลักษณะสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ของการวิจัย ผู้วิจัยเข้าไปศึกษาและจัดเก็บข้อมูลด้วยตนเองโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกการวิเคราะห์เอกสาร
การสังเกตและจดบันทึก และการจัดกลุ่มสนทนา ผู้ไห้ข้อมูลหลักได้แก่
ผู้บริหารโรงเรียน กรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้นำชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน
ศึกษานิเทศก์และผู้มาศึกษาดูงานที,โรงเรียนการวิเคราะห์ข้อมูลไข้วิธีแปลความและตีความหมายข้อมูลแล้วสร้างมโนทัศน์ขึ้นโดยอาศัยความไวทางทฤษฎีและใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม
Atlas/ti
รุ่น
4.2 ช่วยในการจัดระบบการวิเคราะห์ข้อมูลในขั้นสุดท้าย
ผลการวิจัยพบว่า
1.
ทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียนมีลักษณะสำคัญคือเป็นการร่วมกันทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นงานบุกเบิกที,พยายามไห่ได้ผลงานที,ตีที,สุดเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่บุคคลอื่น
การก่อตัวขึ้นของทีมมีพื้นฐานมาจากการรักษาเกียรติประวัติของโรงเรียน และการ
ตอบสนองนโยบายตามสายงานบังคับบัญชา ทีมในโรงเรียนแบ่งออกเป็น 3 ระดับคือทีมระดับ
โรงเรียน ระดับหัวหน้างาน และระดับปฏิบัติการ ทั้งนี้สมาชิกคนหนึ่งอาจเข้าไปเป็นสมาชิกของ
ทีมได้หลายทีม เป้าหมายของทีมคือการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
และเป็นแหล่งเรียนรู้ของ บุคคลอื่นสำหรับพฤติกรรมของทีมที่สำคัญคือการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมการร่วมคิดร่วมทำการปฏิบัติงานได้เกินระดับปกติ
การพึ่งพาและช่วยเหลือกัน การแก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้ง การตัดสินใจร่วม
และความไวต่อการเปลี่ยนแปลง
2.
เงื่อนไขการเกิดกลายเป็นทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียน แยกเป็นเงื่อนไขที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียนคือ
สมาชิกมีความชัดเจนในนโยบายผู้บริหารมีคุณลักษณะเฉพาะตัวมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง
มีการสร้างผู้นำร่วม และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กรณีเงื่อนไข ภายนอก ได้แก่
ความรู้ลืกผูกพันกับชุมชน และการทำงานร่วมกับเครือข่าย ส่วนกระบวนการ
เกิดกลายเป็นทีมเป็นผลมาจากการนำ (leading) ของผู้บริหารในด้านการจูงใจผู้ร่วมงาน
การ
ข
บุกเบิกแสวงหา/ทำหา
และการอุทิศตนให้กับงาน นอกจากนี้ยังเป็นผลมาจากการทำงานที,ได้รับ
มอบหมายให้ถึงขั้นนำไปใซํได้ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของสมาชิกทิมการมีส่วนร่วมกับชุมชน
การมุ่งมั่นไปสู่ความสำเร็จ
และการเผชิญบิญหาในโรงเรียน
3.
ทิมผู้นำการเปลี่ยนแปลงดำรงอยู่ได้ด้วยความชัดเจนในบทบาทหน้าที่และความเป็นผู้นำทางวิชาการ การเกาะเกี่ยวกันเป็นทิมแห่งการเรียนรู้ความใส่ใจในงานและจุดมุ่งหมาย
และการตรวจสอบและแกไขมีการปรับวัฒนธรรมการทำงานที,ยึดมั่นในปรัชญาของโรงเรียน
ความรับผิดชอบตามหน้าที่
การลี่อสารอย่างทั่วถึง มีบรรยากาศที่สร้างสรรค์ และความโปร่งใส ในการบริหาร
4.
ผลที่ติดตามมาจากการเป็นทิมผู้นำการเปลี่ยนแปลงต่อสมาชิกและโรงเรียน
กรณีที่
เป็นผลในทางบวกคือ
พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนการเป็นตัวแบบนวัตกรรมความพึงพอใจในงาน
การยอมรับจากภายนอก และการมีชื่อเสียง ส่วนผลในทางลบคือ ผลสัมฤทธ
ทางการเรียนของนักเรียนติ,าในระยะแรกครูทำงานหนัก ไม,มีเวลาพัฒนาผลงานวิชาการของ
ตนเอง
และครูบางคนยังไม,สามารถปรับตัวร่วมเป็นทิมผู้นำการเปลี่ยนแปลงได้
Gunya
Pothivat. 2005. A
Transformational Leadership Team in a Primary School ะ
A Grounded Theory Study. Doctor of Education
Thesis in Educational Administration, Graduate School, Khon Kaen University.
[ISBN 974-284-754-1] Thesis
Advisors ะ Assoc.Prof. Dr. Wirot
Sanrattana, Asst.Prof. Dr. Paisan Suwannoi,
Prof.
Dr. Forrest พ. Parkay
ABSTRACT
The
objective of this study was to understand the characteristics, condition and
processes, and consequences resulting from a transformational leadership team
at a primary school. The study utilized qualitative methods to develop a
grounded theory. The researcher selected the study site by using theoretical
sampling and identifying a medium-size school congment with the research
objectives. The researcher participated in the study and collected data through
in-depth interviews, document analysis, observations and field notes, and focus
group discussions. The key informants were the school administrators, the
school committee, the teacher team, community leaders, the students’
caretakers, the students, educational supervisors, and school visitors. Data
were analyzed by using translating and interpretative data. Then, the concepts
were developed depending on theoretical sensitivity. The data analysis system
was organized by computer program.
The
research findings are as follows:
1.
The
major characteristics of transformational leadership team were: collaborating
on the assigned work and initiating work for best practice in order to be a
source of learning for other people. The forming of the team had basis from
keeping honor and history of school and responded the policy according to work
order line. Teams in the school were divided into three 3 levels: school team
level, work chief level, and practice level. One member could be member of more
than one team. The team’s goal was to develop the students’ learning and to be
source of learning for others. The important behaviors of the team were:
creating a shared vision, collaborating in thinking and practicing, practicing
over normal level, depending on and helping each other, problem solving, and
eliminating conflict, shared decision making, and being sensitive to change.
2.
The
occurring conditions of transformational leadership team in a school could be
divided into the occurred conditions inside school including the members were
clear in policy, the administrator had specific characteristics, he had
transformational leadership,
ง
there were shared
leader development, and shared learning. The external conditions were
affiliation with community and working with network. Team development was
related to the administrators motivating co-workers, initiating searching, and
dedicating oneself to the work. Besides, it was related to practicing the
assigned work to practical level. For collaborating of team members,
collaborating with community, oriented achievement, and coping problems in
school.
3.
For
transformational leadership team could exist with clarity in role, function,
and academic leadership, cohesive within team, attention in work and objective,
and investigating and correcting. The work culture focusing on school
philosophy was adjusted, responsibility according to duty, throughout
communication, created climate, and accountability in administration.
4.
The
consequence effect from being transformational leadership team to members and
school, the positive effects including the students’ learning behavior, being
innovation role model, job satisfaction, being acceptance from outsider, and
receiving reputation. For negative effects were the students’ learning
achievement were low at the beginning, the teachers worked very hard, they
didn’t have time for their academic performance, and some teachers couldn’t
adapt themselves to becoming a member of a transformational leadership team.
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น